กิจกรรม กล้วย
การนับ
-ให้เด็กรู้จัก นับจำนวนกล้วยใน 1หวีมีกี่ผล
-ให้เด็กรู้จัก นับเหลี่ยมของผลกล้วย 1 ลูก
-ให้เด็กรู้จัก ขนาดเล็ก-ใหญ่ของกล้วย
ตัวเลข
-ให้เด็กนับกล้วยว่ามีจำนวนเท่าไห่แล้วไปหยิบตัวเลขให้ตรงกับจำนวนที่นับ
การจับคู่
-ให้เด็กรู้จัก จับคู่กล้วยดิบ กับกล้วยสุก
-ให้เด็กรู้จัก จับคู่ชนิดของกล้วย
-ให้เด็กจับคู่กล้วยที่ขนาดเล็ก-ใหญ่
การจัดประเภท
-ให้เด็กรู้จัก ประเภท ของกล้วยแต่ละชนิด
-ให้เด็กรู้จัก ขนาดเล็ก-ใหญ่ ของกล้วยแต่ละชนิด
การเปรียบเทียบ
-ให้เด็กรู้จัก เปรียบเทียบกล้วยดิบกับกล้วยสุก
-ให้เด็กรู้จักขนาดเล็ก –ใหญ่
-ให้เด็กรู้จัก จำนวนกล้วยแต่ละหวีว่าหวีไหนมากกว่ากัน
การจัดลำดับ
-ให้เด็กรู้จักน้ำหนักของกล้วยแต่ชนิด
-ให้เด็กเรียงลำดับจากเล็ก-ใหญ่
รูปทรงเนื้อที่
-.ให้เด็กแยกกล้วยที่มีขนาดเล็ก-ใหญ่
-ให้เด็กแยกสีของกล้วยแต่ละชนิด
การวัด
-ให้เด็กรู้จักวัดความยาวของกล้วยแต่ละชนิด
-.ให้เด็กรู้จักน้ำหนักของกล้วยแต่ละชนิด
เชท
-ครูถามเด็กว่ากล้วยมีกี่ชนิด
-ครูถามเด็กว่าก่อนที่กล้วยจะสุกมีสีอะไร
-ถ้าปลอกเปลือกกล้วยแล้วเด็กๆรู้ว่าข้างในมีสีอะไร
เศษส่วน
.ให้เด็กรู้จัก ขนาดเล็ก – เล็กใหญ่ ของกล้วย
-ให้เด็กนับระหว่างกล้วยดิบและกล้วยสุกมีจำนวนเท่ากันหรือไม่
การทำตามแบบหรือลวดลาย
-ให้เด็กแยกกล้วยที่มีขนาดเล็ก-ใหญ่ออกจากกัน
-ให้เด็กแบ่งกล้วย 1 หวีให้เท่ากัน
การอนุรักษ์
-แบ่งกล้วยคละกันแล้วให้เด็กเลือกมาเข้ากลุ่ม
วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันที่5 มกราคม 2552
อาจารแนะนำในเรื่องการจัดกิจกรรมให้กับเด็กโดย
1. การเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
2.การวางแผลการสอน เช่น
สาระที่จะสอน
-เช่นลักษณะของฝรั่ง
-ส่วนประกอบของฝรั่ง
-ประโยชน์ของฝรั่ง
-สถานที่พบ เช่นพาเด็กไปทัศนศึกษานอกสถานที่
เทคนิกการนำเข้าสู่บทเรียน
-เช่น การเล่านิทาน การร้องเพลง
1. การเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
2.การวางแผลการสอน เช่น
สาระที่จะสอน
-เช่นลักษณะของฝรั่ง
-ส่วนประกอบของฝรั่ง
-ประโยชน์ของฝรั่ง
-สถานที่พบ เช่นพาเด็กไปทัศนศึกษานอกสถานที่
เทคนิกการนำเข้าสู่บทเรียน
-เช่น การเล่านิทาน การร้องเพลง
วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2552
มีความรู้เกี่ยวกับบทความคณิตศาสตร์มาฝากกันนะจ๊ะ
MOTHENATIC ของวัยซนกัน
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ของลูกไม่ใช่แค่การท่องจำตัวเลข 1 2 3...10 หรือ 1+1=2เท่านั้น แต่คณิศาสตร์ คือการเรียนรู้ที่เกิดจากความเข้าใจ มีเหตุผล สามารกเชื่อมโยงกับสิ่งต่างๆ ตลอดจนสามารถคิดหาหนทางเพื่อแก้ไขปัญหาได้ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการเรียนรู้อย่างอื่นๆ เมื่อเติบโตขึ้น
รู้จัก Mathematic
ทุกวันนี้หมดยุคท่องจำ หรือการเรียนรู้เฉาะเรื่องจำนวนและตัวเลขแล้วค่ะ เพราะว่าคณิตศาสตร์สามารถเรียนรู้ได้ง่ายจากการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น นับต้นไม้ ใบไม้ ซึ่งมีทั้งการนับ ขนาดปริมาณ น้ำหนัก การเปรียบเทียบ เรียนรู้เวลา และอื่นๆอีกมากมาย ที่สำคัญทุกสาขาอาชีพก็ล้วนต้องเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ บัญชี เทคโนโลยี การเมืองการปกครอง การนับ ล้วนมีคณิศาสตรืล้วนมาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ของลูกไม่ใช่แค่การท่องจำตัวเลข 1 2 3...10 หรือ 1+1=2เท่านั้น แต่คณิศาสตร์ คือการเรียนรู้ที่เกิดจากความเข้าใจ มีเหตุผล สามารกเชื่อมโยงกับสิ่งต่างๆ ตลอดจนสามารถคิดหาหนทางเพื่อแก้ไขปัญหาได้ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการเรียนรู้อย่างอื่นๆ เมื่อเติบโตขึ้น
รู้จัก Mathematic
ทุกวันนี้หมดยุคท่องจำ หรือการเรียนรู้เฉาะเรื่องจำนวนและตัวเลขแล้วค่ะ เพราะว่าคณิตศาสตร์สามารถเรียนรู้ได้ง่ายจากการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น นับต้นไม้ ใบไม้ ซึ่งมีทั้งการนับ ขนาดปริมาณ น้ำหนัก การเปรียบเทียบ เรียนรู้เวลา และอื่นๆอีกมากมาย ที่สำคัญทุกสาขาอาชีพก็ล้วนต้องเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ บัญชี เทคโนโลยี การเมืองการปกครอง การนับ ล้วนมีคณิศาสตรืล้วนมาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น
พีธากอรัส นักคณิตศาสตร์ ชาวกรีก กล่าวไว้ว่า
หลายสิ่งหลายอย่างสามารถอธิบายให้เข้าใจด้วยคณิตศาสตร์
คาร์ เฟรค เกาส์ นักคณิตศาสตร์ที่สำคัญที่สุดหนึ่นประวัติศาสตร์ กล่าวว่า
คณิตศาสตร์ไม่ใช่ความรู้ แต่เป็นการเรียนรู้ ที่ให้ความเพลิดเพลินที่สุด
mathematic Growing เมื่อรู้รอบเขตแล้วก็ส่งเสริมเจ้าตัวเล็กได้ตั้งแต่แรกเกิดเถอะคะ
ขวบปีแรก
ลูกสามารถสร้างพื้นฐานทางคณิศาสตร์ได้ก่อนที่จะบวกหรือลบเป็นเสียอีก เขาสามารถเชื่อมโยคความคิดกับตัวเลขด้วยการตีความง่ายๆ เรียนรู้ว่าจมูกหนึ่งจมูก มีตาสองตา รู้จักจังหวะเคลื่อนไหวจากากรคลาน ซึ่งความสามารถทางคณิศาสตร์ของลูกถูกพัฒนาด้วยการกระตุ้นหรือการมีปฎิสัมพันธ์กับพ่อแม่ คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อมรอบตัว สิ่งเหล่านี้จึงเป็นบันไดสำคัญที่จะพัฒนาไปสู่การเรียนรู้คณิตศาสตร์ของเจ้าตัวเล็กในช่วงวัยต่อไปค่ะ
ขวบปีที่สอง
เรียนรู้สิ่งที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถจักประเภคสิ่งของได้ทำให้ลูกเข้าใจจำนวน ตัวเลข รู้จักนับนิ้วมือ1 2 3 เรียนรู้ความแตกต่างของรูปทรง การจับคู่ รู้จักการใช้เหตุผล มีจิตนาการ และเรียนรู้การเชื่อมโยคของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง เช่น มือตีกลอง เขารู้ว่าจะต้องมีเสียงดัง สิ่งเหล่านี้พ่อแม่ต่องกระตุ้นลูกบ่อยๆ จะทำให้เขาเข้าใจความหมายและรู้จักการนำจินตนาการมาใช้ได้ดี
ขวบปีที่สาม
ลูกจะเห็นการจับคู่เป็นเรื่องง่ายแล้วค่ะ วัยนี้จึงควรจัดกิจกรรมให้เด็กๆ ได้ใช้ทั้งความคิด ความมีเหตุผล และเห็นการเชื่อมโยคกันให้มากขึ้น เช่น ลูกมีตุกตากี่ตัวจ๊ะ ลูกต้องการรถกี่คัน หรืออาจจะให้ลูกช่วยจัดโต๊ะอาหาร ให้อาหารสัตว์ หรือไปซื้อของ ลูกจะได้เรียนรู้ การจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบ การจัดวาง เป็นต้น
การเรียนรู้ของลูกจะประสบความสำเร็จได้จะต้องเกิดจากความสมัครใจ
ใคร่รู้ของลูกเอง แต่จะไม่เกิดเลยหากลูกถูกยัดเยียด ดังนั้นพ่อแม่จึงควรสร้างสรรสร้าง
กิจกรรมให้สนุกสนานไม่น่าเบื่ออยู่เสมอ เพื่อกระตุ้นให้ลูกเกิดความสนใจ
Funday + learn in 7 Day
การเรียนรู้คณิศาสตร์ของลูกเริ่มต้นจาการอ่านการใช้ภาษาที่เป็นธรรมชาติค่ะ ซึ่งทุกกิวัตรประจำวันถือเป็นโอกาศดี ที่จะผสมผสานให้ลูกได้เรียนรู้และเข้าใจถึงทักษะง่ายๆ และใก้ลตัว
Monday ; เรียนรู้การนับและจำนวน
ฝึกลูกให้รู้จักการนับขณธกิน เล่น เล่านิทาน เช่น การนับนิ้วมือ ช่วงแรกให้นับ 1-5 ก่อน แล้วเพิ่มเติม 10 จากนั้นจึงค่อยเชื่อมโยงไปสู่ตัวเลขที่เป็นรูปธรรมเพื่อให้ลูกเห็นจำนวนที่แท้จริงมากขึ้น
ซึ่งนอกจากลูกจะได้เรียนรู้การนับแลว ยังได้เรียนรู้สรรพนาม ที่จะใช้เรียก คน สัตว์ สิ่งของ และผลไม้ต่างๆ ซึ่งจะทำให้เขาเรียนรู้เรื่องของเซ็ท หรือการจัดหมวดหมู่ได้ง่ายขึ้นค่ะ เช่น
1= ขนมเค็ก 1 ชิ้น 2 = กล้วย 2ลูก 3 = หมวก 3 ใบ
Tuesday ; เรียนรู้ขนาด
สอนด้วยการเปรียบเทียบให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ช่วงแรกใช้แค่ขนานเล็ก - ใหญ่ ซึ่งอาจจะเป็นเสื้อผ้า ของเล่นหรือผลไม้ เช่น "กางเกงของลูกตัวเล็กกว่ากางเกงของแม่อีกค่ะ " หรือ " หนูว่าแตงโมกับส้ม ผลไม้ชนิดไหนใหญ่ก่วากัน " จากนั้นก็เอาของทั้งสองมาเปรียบเทียบให้ลูกดู
Wednesday : เรียนรู้ปริมารและน้ำหนัก
ทำให้ลูกได้เรียนรู้เรื่องมากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ เช่นการเทน้ำใส่แก้ว การตักทรายใส่ถัง เก็บของใส่กล่อง เช่น นำแก้วสามใบ และนม แก้วใบแรกใส่นมเติมแก้ว ใบที่สองใส่ครึ่งแก้ว และใบที่สามไม่ต้องใส่ เด็กวัยนี้จะสามารถเรียนรู้ ใบไหนว่าง และใบไหมมีนมครึ่งแก้ว เด็กวัยนี้จะสามารถเรียนรู้ความหมายของคำว่าเติมและว่างเปล่า
Thursday : เรียนรู้รูปทรง
การเล่นแท่งบล็อก ลูกได้เรียนรู้ทั้งรูปทรง การเปรียบเทียบ สีสัน ขนาด ตำแหน่งที่ว่าง การจัดหมวดหมู่ และการนับจำนวน โดยคุณแม่อาจตั้งคำถามให้ลูกคิด เช่น มีแท่งบล็อกสี่เหลี่ยมกี่แท่งค่ะ หรือบล็อกมีสีเมือนกันมั้ยค่ะ
Friday: เรียนรู้เวลา
สอนให้ลูกเรียนรู้จากสิ่งที่ง่ายก่อน เช่น ก่อน- หลัง เร็ว - ช้า วันนี้ - พรุ่งนี้ ด้วยการพูดคุย ถ้าลูกเดินเร็วก็จะถึงเร็วถ้าเดินช้าก็ถึงช้า
Saturday: เรียนรู้ วัน เดือน ปี
โดยเริ่มต้นให้ลูกเรียนกิจกรรมง่ายๆ หรือยกตัวอย่างวันสำคัญของเทศกาลต่างๆ เช่น ปี ใหม่สงกานต์
เช่น เดือนมกราคมถึงวันเกิดของลูก จะมีอายุ 2 ขวบแล้วนะ
Sunday : เรียนรู้จังหวะ ดนตรี
คุณสามารถฝึกประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้ลูกได้ด้วยการเรียนรู้จังหวะจากเครื่องดนตรีง่ายๆ กลอง ไซโลโฟน หรือเครื่องดนตรีอื่นๆ ที่ตีแล้วเกิดเสียง เช่น การตีกลองโต้ตอบกับลูก ครั้งแรกคุณลองตี 2ครั้ง แล้วให้เจ้าตัวเล็กตีกลองรับ 2 ครั้ง แล้วค่อยเพิ่มเป็น 3ครั้ง 4 ครั้ง จากนั้นเปลี่ยนให้ลูกตีนำและคุณตีตาม สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ลูกเข้าใจการโต้ตอบจากจังหวะกลอง
จากกิจกรรมที่ยกตัวอย่าง ก็จะช่วยให้เจ้าตัวเล็กวัยซนสนใจ
เล่นคณิตศาสตร์แสนสนุกไปพร้อมกับคุณแล้ว ล่ะคะ
จากนิตยสาร รักลูก
คณิตศาสตร์ไม่ใช่ความรู้ แต่เป็นการเรียนรู้ ที่ให้ความเพลิดเพลินที่สุด
mathematic Growing เมื่อรู้รอบเขตแล้วก็ส่งเสริมเจ้าตัวเล็กได้ตั้งแต่แรกเกิดเถอะคะ
ขวบปีแรก
ลูกสามารถสร้างพื้นฐานทางคณิศาสตร์ได้ก่อนที่จะบวกหรือลบเป็นเสียอีก เขาสามารถเชื่อมโยคความคิดกับตัวเลขด้วยการตีความง่ายๆ เรียนรู้ว่าจมูกหนึ่งจมูก มีตาสองตา รู้จักจังหวะเคลื่อนไหวจากากรคลาน ซึ่งความสามารถทางคณิศาสตร์ของลูกถูกพัฒนาด้วยการกระตุ้นหรือการมีปฎิสัมพันธ์กับพ่อแม่ คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อมรอบตัว สิ่งเหล่านี้จึงเป็นบันไดสำคัญที่จะพัฒนาไปสู่การเรียนรู้คณิตศาสตร์ของเจ้าตัวเล็กในช่วงวัยต่อไปค่ะ
ขวบปีที่สอง
เรียนรู้สิ่งที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถจักประเภคสิ่งของได้ทำให้ลูกเข้าใจจำนวน ตัวเลข รู้จักนับนิ้วมือ1 2 3 เรียนรู้ความแตกต่างของรูปทรง การจับคู่ รู้จักการใช้เหตุผล มีจิตนาการ และเรียนรู้การเชื่อมโยคของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง เช่น มือตีกลอง เขารู้ว่าจะต้องมีเสียงดัง สิ่งเหล่านี้พ่อแม่ต่องกระตุ้นลูกบ่อยๆ จะทำให้เขาเข้าใจความหมายและรู้จักการนำจินตนาการมาใช้ได้ดี
ขวบปีที่สาม
ลูกจะเห็นการจับคู่เป็นเรื่องง่ายแล้วค่ะ วัยนี้จึงควรจัดกิจกรรมให้เด็กๆ ได้ใช้ทั้งความคิด ความมีเหตุผล และเห็นการเชื่อมโยคกันให้มากขึ้น เช่น ลูกมีตุกตากี่ตัวจ๊ะ ลูกต้องการรถกี่คัน หรืออาจจะให้ลูกช่วยจัดโต๊ะอาหาร ให้อาหารสัตว์ หรือไปซื้อของ ลูกจะได้เรียนรู้ การจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบ การจัดวาง เป็นต้น
การเรียนรู้ของลูกจะประสบความสำเร็จได้จะต้องเกิดจากความสมัครใจ
ใคร่รู้ของลูกเอง แต่จะไม่เกิดเลยหากลูกถูกยัดเยียด ดังนั้นพ่อแม่จึงควรสร้างสรรสร้าง
กิจกรรมให้สนุกสนานไม่น่าเบื่ออยู่เสมอ เพื่อกระตุ้นให้ลูกเกิดความสนใจ
Funday + learn in 7 Day
การเรียนรู้คณิศาสตร์ของลูกเริ่มต้นจาการอ่านการใช้ภาษาที่เป็นธรรมชาติค่ะ ซึ่งทุกกิวัตรประจำวันถือเป็นโอกาศดี ที่จะผสมผสานให้ลูกได้เรียนรู้และเข้าใจถึงทักษะง่ายๆ และใก้ลตัว
Monday ; เรียนรู้การนับและจำนวน
ฝึกลูกให้รู้จักการนับขณธกิน เล่น เล่านิทาน เช่น การนับนิ้วมือ ช่วงแรกให้นับ 1-5 ก่อน แล้วเพิ่มเติม 10 จากนั้นจึงค่อยเชื่อมโยงไปสู่ตัวเลขที่เป็นรูปธรรมเพื่อให้ลูกเห็นจำนวนที่แท้จริงมากขึ้น
ซึ่งนอกจากลูกจะได้เรียนรู้การนับแลว ยังได้เรียนรู้สรรพนาม ที่จะใช้เรียก คน สัตว์ สิ่งของ และผลไม้ต่างๆ ซึ่งจะทำให้เขาเรียนรู้เรื่องของเซ็ท หรือการจัดหมวดหมู่ได้ง่ายขึ้นค่ะ เช่น
1= ขนมเค็ก 1 ชิ้น 2 = กล้วย 2ลูก 3 = หมวก 3 ใบ
Tuesday ; เรียนรู้ขนาด
สอนด้วยการเปรียบเทียบให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ช่วงแรกใช้แค่ขนานเล็ก - ใหญ่ ซึ่งอาจจะเป็นเสื้อผ้า ของเล่นหรือผลไม้ เช่น "กางเกงของลูกตัวเล็กกว่ากางเกงของแม่อีกค่ะ " หรือ " หนูว่าแตงโมกับส้ม ผลไม้ชนิดไหนใหญ่ก่วากัน " จากนั้นก็เอาของทั้งสองมาเปรียบเทียบให้ลูกดู
Wednesday : เรียนรู้ปริมารและน้ำหนัก
ทำให้ลูกได้เรียนรู้เรื่องมากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ เช่นการเทน้ำใส่แก้ว การตักทรายใส่ถัง เก็บของใส่กล่อง เช่น นำแก้วสามใบ และนม แก้วใบแรกใส่นมเติมแก้ว ใบที่สองใส่ครึ่งแก้ว และใบที่สามไม่ต้องใส่ เด็กวัยนี้จะสามารถเรียนรู้ ใบไหนว่าง และใบไหมมีนมครึ่งแก้ว เด็กวัยนี้จะสามารถเรียนรู้ความหมายของคำว่าเติมและว่างเปล่า
Thursday : เรียนรู้รูปทรง
การเล่นแท่งบล็อก ลูกได้เรียนรู้ทั้งรูปทรง การเปรียบเทียบ สีสัน ขนาด ตำแหน่งที่ว่าง การจัดหมวดหมู่ และการนับจำนวน โดยคุณแม่อาจตั้งคำถามให้ลูกคิด เช่น มีแท่งบล็อกสี่เหลี่ยมกี่แท่งค่ะ หรือบล็อกมีสีเมือนกันมั้ยค่ะ
Friday: เรียนรู้เวลา
สอนให้ลูกเรียนรู้จากสิ่งที่ง่ายก่อน เช่น ก่อน- หลัง เร็ว - ช้า วันนี้ - พรุ่งนี้ ด้วยการพูดคุย ถ้าลูกเดินเร็วก็จะถึงเร็วถ้าเดินช้าก็ถึงช้า
Saturday: เรียนรู้ วัน เดือน ปี
โดยเริ่มต้นให้ลูกเรียนกิจกรรมง่ายๆ หรือยกตัวอย่างวันสำคัญของเทศกาลต่างๆ เช่น ปี ใหม่สงกานต์
เช่น เดือนมกราคมถึงวันเกิดของลูก จะมีอายุ 2 ขวบแล้วนะ
Sunday : เรียนรู้จังหวะ ดนตรี
คุณสามารถฝึกประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้ลูกได้ด้วยการเรียนรู้จังหวะจากเครื่องดนตรีง่ายๆ กลอง ไซโลโฟน หรือเครื่องดนตรีอื่นๆ ที่ตีแล้วเกิดเสียง เช่น การตีกลองโต้ตอบกับลูก ครั้งแรกคุณลองตี 2ครั้ง แล้วให้เจ้าตัวเล็กตีกลองรับ 2 ครั้ง แล้วค่อยเพิ่มเป็น 3ครั้ง 4 ครั้ง จากนั้นเปลี่ยนให้ลูกตีนำและคุณตีตาม สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ลูกเข้าใจการโต้ตอบจากจังหวะกลอง
จากกิจกรรมที่ยกตัวอย่าง ก็จะช่วยให้เจ้าตัวเล็กวัยซนสนใจ
เล่นคณิตศาสตร์แสนสนุกไปพร้อมกับคุณแล้ว ล่ะคะ
จากนิตยสาร รักลูก
วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันอาทิตย์ ที่ 21 พ.ศ 2551
จากการที่ไปสังเกตการณ์สอนได้ไปสังเกตที่ห้อง1/2ครูได้สอนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ สังเกตที่ สาธิตอนุบาลจันเกษม
โดยครูจะมีภาพสัตว์ตั้งแต่ 1- 10 ให้เด็กได้อ่านตาม เช่น ภาพกบ 1 ตัว และภาพไก่ 2ตัว จนถึง 10 เด็กๆมีความตื่นเต้นและพูดตามได้
ใจฉันเป็นของเธอ -
โดยครูจะมีภาพสัตว์ตั้งแต่ 1- 10 ให้เด็กได้อ่านตาม เช่น ภาพกบ 1 ตัว และภาพไก่ 2ตัว จนถึง 10 เด็กๆมีความตื่นเต้นและพูดตามได้
ใจฉันเป็นของเธอ -
วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
คำคล้องจอง
ลิง 1, 2, 3,4 ตัวกระโดดเล่นอยู่บนเตียง ตัวหนึ่งร่วงลงมา หัวกระแทกพื้นคุณแม่โทรเรียกคุณหมอ
คุณหมอก็พูดว่าห้ามเจ้าลิงกระโดดบนเตียงอีกต่อไป
คุณหมอก็พูดว่าห้ามเจ้าลิงกระโดดบนเตียงอีกต่อไป
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
คาบที่4 วันที่ 27 พ.ย 2551
วันนี้นั่งข้างหลังร้อนมากจนไม่ได้ฟังอาจารย์สอน
และอีกอย่างนะคอมพิวเตอร์ช้ามากตั้งแต่ที่มาเรียนคอมช้าทุกที
ทำให้หงุดหริดจนบางทีเพื่อนถามจนไม่อยากบอก
ความรู้ที่อาจารย์สอนวันนี้
มาตรฐานการวัดในระบบเมตริก
1.ศัพย์ที่เด็กควรทราบ
2.ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
3.การวัดเรื่องสัปดาห์ เช่นสัปดาห์หนึ่งมีกี่วัน ให้ดูจากปฎิทิน
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี มีความสมดุจในเรื่องต่อไปนี้
1.เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวบยอด
2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
3.แนะนำคำคัพย์ไหม่ๆอย่างสัญลักษณ์แบบค่อยเป็นค่อยไป
4.ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่น
และอีกอย่างนะคอมพิวเตอร์ช้ามากตั้งแต่ที่มาเรียนคอมช้าทุกที
ทำให้หงุดหริดจนบางทีเพื่อนถามจนไม่อยากบอก
ความรู้ที่อาจารย์สอนวันนี้
มาตรฐานการวัดในระบบเมตริก
1.ศัพย์ที่เด็กควรทราบ
2.ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
3.การวัดเรื่องสัปดาห์ เช่นสัปดาห์หนึ่งมีกี่วัน ให้ดูจากปฎิทิน
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี มีความสมดุจในเรื่องต่อไปนี้
1.เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวบยอด
2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
3.แนะนำคำคัพย์ไหม่ๆอย่างสัญลักษณ์แบบค่อยเป็นค่อยไป
4.ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)